นางสาวพงษ์ล้วน อุดหนุน
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
1. ชื่อชุมชนท่องเที่ยว แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว
2. ที่ตั้ง หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 4 ห้วยขุนราม
อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 6 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 6 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
3. สภาพทั่วไปของชุมชน
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวเป็นหมู่บ้านขนาดไม่ใหญ่นัก
เกิดขึ้นในราวปีพ.ศ.2500 โดยมีประชากรจากบางอำเภอ
ของจังหวัดสระบุรีและลพบุรี ราว 3-4
ครอบครัว อพยพเข้ามาจับจองพื้นที่แถบโป่งมะนาว
ซึ่งยังเป็นป่าทึบและมีสัตว์ป่านานาชนิดชุกชุม
จากนั้นก็ได้ถากถางพื้นที่ป่าเพื่อสร้างบ้านเรือนและทำพื้นที่เพาะปลูก
ต่อมาจึงมีผู้คนอพยพเข้ามาเพิ่มเติมทำให้หมู่บ้านมีขนาดใหญ่ขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงต่อมาเรื่อยๆ
จนกลายเป็นบ้านโป่งมะนาว ซึ่งอยู่ในเขตการปกครองของหมู่ที่ 7 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม
จังหวัดลพบุรี บ้านโป่งมะนาวมาจากในสมัยก่อนมีนายพรานชื่อ สุนโย เป็นพรานป่าเที่ยวล่าเนื้ออยู่แถวโป่งมะนาว
ได้เห็นต้นมะนาวป่าอยู่ที่โป่งมะนาวนี้เป็นจำนวนมาก
จึงตั้งเป็นชื่อหมู่บ้าน ต่อมาในปีพ.ศ.2543 ได้มีการขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์โบราณมากที่สุดในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยถึง
13 โครงกระดูกภายในหลุมเดียวกัน เป็นแหล่งโบราณคดีมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่อายุประมาณ 2,500-3,000
ปี ประมาณยุค
"บ้านเชียงตอนปลาย"ได้มีการพัฒนาให้เป็นแหล่งโบราณคดีที่ดำเนินการโดยชุมชนเอง
โดยมีองค์กรภาครัฐให้การสนับสนุน ต่อมาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดพิพิธภัณฑ์สถานชุมชนอย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2547 อาชีพหลักของชาวบ้านโป่งมะนาวคือ การทำไร่อ้อย การเลี้ยงโคนม
การปลูกผักสวนครัว หัตถกรรมผลิตภัณฑ์จากเชือกมัดฟางถักทอ
4. แหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชน
5. กิจกรรมและการบริการด้านการท่องเที่ยวของชุมชน
{ทรัพยากรการท่องเที่ยวภายในชุมชน ประกอบด้วยแหล่งโบราณคดี แหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัย พิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรมการเกษตร (การเลี้ยงโคนม)
กิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชน
ศึกษาแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว
เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านโป่งมะนาว
เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านโป่งมะนาว
ชมการสาธิตการรีดนมวัว และศึกษาวิธีการเลี้ยงโคนม
เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านโป่งมะนาว
เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านโป่งมะนาว
ชมการสาธิตการรีดนมวัว และศึกษาวิธีการเลี้ยงโคนม
ปฏิทินและโปรแกรมการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้ตลอดปี
การบริการด้านการท่องเที่ยวของชุมชน
บริการนำเที่ยวโดยยุวมัคคุเทศก์ประจำแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว
(เฉพาะวันหยุดราชการ และวันที่มีการนัด หมายไว้ล่วงหน้า)
เอกลักษณ์ของชุมชน
แหล่งโบราณคดึบ้านโป่งมะนาว
มีประวัติความเป็นมาทางในยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ
มีอาคารพิพิธภัณฑ์สถานชุมชนที่สวยงามสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยและแหล่งเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
มีอาคารพิพิธภัณฑ์สถานชุมชนที่สวยงามสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยและแหล่งเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
6. ระบบสาธารณูปโภค /สิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมชนได้แก่
- ป้ายบอกทาง
- ระบบไฟฟ้า ประปา
- ลานจอดรถ
- ระบบไฟฟ้า ประปา
- ลานจอดรถ
- ห้องน้ำสาธารณะ
- ร้านขายของที่ระลึก
- ร้านขายของที่ระลึก
7. การจัดการท่องเที่ยวของชุมชน
รูปแบบการบริหารจัดการ
การจัดการท่องเที่ยวของแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว
ดำเนินการโดยชมรมอนุรักษ์แหล่งโบราณคดีและ ทรัพยากรธรรมชาติตำบลห้วยขุนรามโดยมีองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยขุนรามให้การสนับสนุนชาวบ้านในชุมชน
มีส่วนร่วมโดยการส่งลูกหลานมาเป็นยุวมัคคุเทศก์ประจำแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว
และชุมชนช่วยกันผลิตของมาจำหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยว
การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวและการใช้ประโยชน์
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว
มีการใช้ทรัพยากรของแหล่งโบราณคดีอย่างคุ้มค่า เช่น หลุมขุดค้นและอาคาร
พิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านโป่งมะนาว เนื่องจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงไม่มีการจัดเก็บหารายได้เข้าชมรม นอกจากนักท่องเที่ยวจะมอบเงินบริจาคสมทบเป็นกองทุนอาหารกลางวันให้กับยุวมัคคุเทศก์
พิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านโป่งมะนาว เนื่องจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงไม่มีการจัดเก็บหารายได้เข้าชมรม นอกจากนักท่องเที่ยวจะมอบเงินบริจาคสมทบเป็นกองทุนอาหารกลางวันให้กับยุวมัคคุเทศก์
ลักษณะนักท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวมีทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
ส่วนใหญ่จะมาจากสถานศึกษาต่างๆ ทุกระดับทั่วประเทศ
8. การดำเนินงานด้านเครือข่ายการท่องเที่ยวของชุมชน
8.1 เครือข่ายท่องเที่ยวภายในชุมชน
8.2 การเชื่อมโยงเครือข่ายท่องเที่ยวระหว่างชุมชน
- มีการเชื่อมโยงเครือข่ายท่องเที่ยวทั้งภายในจังหวัดและต่างจังหวัด
- แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบ จังหวัดสระบุรี
- เมืองโบราณซับจำปา
- ป่าจำปีสิรินธร
- แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบ จังหวัดสระบุรี
- เมืองโบราณซับจำปา
- ป่าจำปีสิรินธร
9. รางวัลที่ได้รับเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน
- รางวัลชนะเลิศการอนุรักษ์โบราณวัตถุสิ่งแวดล้อมและแหล่งท่องเที่ยว
จังหวัดลพบุรี ปี พ.ศ.2547
- รางวัลองค์กรดีเด่นด้านการอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ.2547
- รางวัลชนะเลิศยอดเยี่ยมระดับประเทศ (รางวัลกินรีทอง) ประเภทโครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว ปีพ.ศ.2549
- รางวัลชุมชนดีเด่นด้านการท่องเที่ยวดีเด่นระดับประเทศ พ.ศ.2551
-รางวัลอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวดีเด่น สาขาวัฒนธรรม (ภาคกลาง) พ.ศ.2552
- รางวัลองค์กรดีเด่นด้านการอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ.2547
- รางวัลชนะเลิศยอดเยี่ยมระดับประเทศ (รางวัลกินรีทอง) ประเภทโครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว ปีพ.ศ.2549
- รางวัลชุมชนดีเด่นด้านการท่องเที่ยวดีเด่นระดับประเทศ พ.ศ.2551
-รางวัลอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวดีเด่น สาขาวัฒนธรรม (ภาคกลาง) พ.ศ.2552
10. แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน
ใช้หลักการบริหารจัดการโดยชุมชนมีส่วนร่วม
โดยชมรมอนุรักษ์แหล่งโบราณคดีและทรัพยากรธรรมชาติตำบลห้วยขุนราม เป็นผู้นำ และมีองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยขุนรามให้การสนับสนุน
11. การเดินทางและการติดต่อ
ผู้ประสานงาน: คุณสมส่วน บูรณพงษ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยขุนราม
เลขที่ 18 หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัด ลพบุรี 18220
โทร. 036-704-030, 081-294-7790
e-mail : Huaikhunram@Gmail.com
ช่วงเวลาให้บริการ เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00-16.30 น.
เลขที่ 18 หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยขุนราม อำเภอพัฒนานิคม จังหวัด ลพบุรี 18220
โทร. 036-704-030, 081-294-7790
e-mail : Huaikhunram@Gmail.com
ช่วงเวลาให้บริการ เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00-16.30 น.
ศูนย์บริการข้อมูลท่องเที่ยวชุมชน: ตั้งอยู่ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยขุนราม
ด้วยงบประมาณ CEO มีการให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการท่องเที่ยว
เว็บไซต์: www.huaikhunram.com
การเดินทาง: จากตัวเมืองลพบุรี
ใช้เส้นทางสายลพบุรี-โคกตูม-พัฒนานิคม-อำเภอ วังม่วง (สระบุรี) เข้าทางเดียวกับ
น้ำตกสวนมะเดื่อ ไม่มีรถประจำ ทางผ่าน
น้ำตกสวนมะเดื่อ ไม่มีรถประจำ ทางผ่าน
แผนที่เดินทาง